The Cardiac Children Foundation of Thailand
  • หน้าแรก
  • ความรู้โรคหัวใจในเด็ก
  • ออกหน่วยตรวจฯ
  • เชิญร่วมบริจาค
  • หน้าแรก
  • ประวัติความเป็นมา
  • ความรู้โรคหัวใจในเด็ก
  • โครงการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจแต่กำเนิด
  • คณะแพทย์ผู้เชี่ยวชาญออกหน่วยตรวจฯ
  • การอบรมการคัดกรองโรคหัวใจฯ
  • จดหมายขอบคุณของผู้ปกครองเด็ก
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
  • ข่าวการรับบริจาค
  • เชิญร่วมบริจาค
  • ดอกกุหลาบ เพื่อเด็กโรคหัวใจ
  • บัตรอวยพรปีใหม่

การผ่าตัดหัวใจในเด็ก

รายละเอียด
เผยแพร่เมื่อ: 30 พฤศจิกายน 2542
สร้างเมื่อ: 30 พฤศจิกายน 2542
ฮิต: 66876
การผ่าตัดหัวใจในเด็ก
รศ.นพ. วิชัย เบญจชลมาศ


ความผิดปกติของหัวใจในเด็กนั้นมากกว่า 90% เป็นความผิดปกติที่เป็นมาแต่กำเนิด และกว่า 80% ต้องรักษาด้วยการผ่าตัด ซึ่งการผ่าตัดแก้ไขนั้นสามารถทำได้ตั้งแต่
1. ระยะแรกคลอด (น้อยกว่า 1 เดือน)
2. ระยะขวบปีแรก
3. ระยะเด็กเล็ก
4. ระยะเด็กโต
5. ไปจนถึงระยะผู้ใหญ่

ในอดีตการผ่าตัดแก้ไขหัวใจผิดปกติในเด็กระยะแรกคลอด และระยะขวบปีแรกมีอัตรา การตายค่อนข้างสูง แต่ในปัจจุบันเนื่องจากความก้าวหน้าทางวิชาการแพทย์รวมทั้งเครื่องมือแพทย์และเทคโนโลยีต่างๆ ได้พัฒนาขึ้นเป็นอย่างมาก ทำให้ผลของการผ่าตัดแก้ไขหัวใจผิดปกติในเด็กระยะแรกคลอด และระยะขวบปีแรกดีขึ้นกว่าเดิมมาก ความพิการของหัวใจบางชนิดผลการผ่าตัดแก้ไขมีอัตรารอดเกือบ 100% หรือแทบจะไม่มีอัตราการตายเลย นอกจากนี้การผ่าตัดแก้ไขหัวใจผิดปกติตั้งแต่ในเด็กระยะแรกคลอด และระยะขวบปีแรกนี้ยังสามารถลดโอกาสที่จะเกิดความเสียหายอย่างถาวรต่อกล้ามเนื้อหัวใจ และปอดได้เป็นอย่างมาก ดังนั้นในปัจจุบันจึงมีความพยายามที่จะทำการผ่าตัดแก้ไขความผิดปกติของหัวใจตั้งแต่เนิ่น ๆ ( ก่อนขวบปีแรก )

อ่านเพิ่มเติม …

คำแนะนำเรื่องการสวนหัวใจ

รายละเอียด
เผยแพร่เมื่อ: 30 พฤศจิกายน 2542
สร้างเมื่อ: 30 พฤศจิกายน 2542
ฮิต: 49670
คำแนะนำเกี่ยวกับการตรวจสวนหัวใจ

ศุภลักษณ์  พุทธรักษ์
ผศ.นพ.วรการ พรหมพันธุ์

               เป็นการตรวจเพื่อช่วยในการวินิจฉัยหรือรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด      โดยการใส่สายสวนขนาดเล็กเข้าทางเส้นเลือดดำหรือแดงบริเวณขาหนีบ    ซึ่งสายสวนจะผ่านขึ้นไปยังตำแหน่งต่าง ๆ ของหัวใจและหลอดเลือดหัวใจ  จากนั้นแพทย์จะทำการวัดความดันและความอิ่มตัวของออกซิเจนในตำแหน่งต่าง ๆ  รวมทั้งฉีดสารทึบรังสี (หรือ “สี”) ซึ่งบันทึกภาพด้วยการถ่ายเอกซเรย์
                         

อ่านเพิ่มเติม …

การดูแลผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการผ่าตัดหัวใจ

รายละเอียด
เผยแพร่เมื่อ: 30 พฤศจิกายน 2542
สร้างเมื่อ: 01 มกราคม 2523
ฮิต: 46984
guidvigrom.jpgรศ.นพ. กฤตย์วิกรม ดุรงค์พิศิษฏ์กุล

การดูแลผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการผ่าตัดหัวใจแบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือ
การดูแลผู้ป่วยหลังการผ่าตัดในช่วงต้น
การดูแลผู้ป่วยในช่วงระยะเวลาพักฟื้นที่หอผู้ป่วย


อ่านเพิ่มเติม …

ผู้ป่วยที่มีอาการเขียวขึ้น หลังผ่าตัด GLENN SHUNT

รายละเอียด
เผยแพร่เมื่อ: 04 กรกฎาคม 2555
สร้างเมื่อ: 04 กรกฎาคม 2555
ฮิต: 36204
Supapornผู้ป่วยที่มีอาการเขียวขึ้น หลังผ่าตัด GLENN SHUNT
พญ.สุภาพร  โรยมณี

เด็กชายไทยอายุ 8 ปี มีอาการเขียวตั้งแต่แรกเกิด ได้รับการวินิจฉัยเป็น tricuspid atresia, ventricular septal defect, patent arteriosus, pulmonary stenosis และได้รับการผ่าตัดทำ bilateral Glenn shunt เมื่อ 3 ปีก่อน oxygen saturation หลังผ่าตัด 80%
ผู้ป่วยมีปัญหาเขียวและเหนื่อยมากขึ้นมาประมาณ 1 ปี เขียวต้องนั่งยองๆ บ่อย
ตรวจร่างกาย :     O2 sat 70%, PR 40/min, mild tachypnea and dyspnea
        Single S2 with gr 4/6 SEM at LUSB, RV heave
        Mild hepatomegaly, no edema

อะไรเป็นสาเหตุทำให้ผู้ป่วยรายนี้ มีอาการเขียวมากขึ้น และจะมีแผนการรักษาผู้ป่วยรายนี้ อย่างไร?

อ่านเพิ่มเติม …

  1. MANAGEMENT OF COMMON CONGENITAL HEART DISEASE
  2. การปิดรูรั่วหัวใจด้วยอุปกรณ์พิเศษ
  3. การรักษาโรคหัวใจในเด็กด้วยสายสวน
  4. การตรวจพิเศษเพื่อการวินิจฉัยโรคหัวใจในเด็ก